by WheelSharee Posted on 2022-03-02
สุราและแอลกอฮอล์ทุกชนิดมีผลต่อร่างกายทุกๆ ส่วน อาทิ สมอง ตับ ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ ผลต่อทารกในครรภ์ ผลต่อการเกิดโรคจิต ผลต่อวงจรการนอน
สมอง
เกิดภาวะมึนเมา ภาวะเมาค้าง สมองเสื่อม ความจำบกพร่อง โรคเสพติดสุรา และอาการลงแดงเมื่อพยายามหยุดดื่ม
ตับ
เกิดไขมันพอกตับ ตับอักเสบ ตับแข็ง และตับวาย รักษาไม่ได้
ระบบทางเดินอาหาร
เกิดแผลในกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารอักเสบ เลือดออกในกระเพาะอาหาร เส้นเลือดดำที่หลอดอาหารโป่ง ช็อค และตายได้ นอกจากนี้ ยังเกิดตับอ่อนอักเสบ เมื่อเป็นนานๆ ก็จะเกิดโรคเบาหวานตามมา และมะเร็งตับอ่อนได้
ระบบหลอดเลือดหัวใจ
เกิดหัวใจวาย โรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน ความดันโลหิตสูง เส้นเลือดในสมองแตก อัมพาต อัมพฤกษ์ พิการชั่วชีวิต
ระบบสืบพันธุ์
ผลต่อการเกิดโรคจิต
เกิดโรคซึมเศร้า โรคจิต โรควิตกกังวล
ผลต่อวงจรการนอน
แอลกอฮอล์จะช่วยให้หลับง่ายในช่วงแรก แต่เมื่อดื่มต่อเนื่อง จะทำลายวงจรการนอนโดยตรง ทำให้ตื่นกลางคืน เป็นคนอนไม่หลับ
เรื่องควรรู้
ปิด
สุรา หรือแอลกอฮอล์ เป็นสารเสพติดที่มีทั้งคุณและโทษ หากดื่มอย่างพอดีก็ไม่อันตรายอะไรและอาจเป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ เช่น เครื่องดื่มประเภทไวน์ แต่หากดื่มสุราปริมาณมาก ดื่มติดต่อกันเป็นประจำ อาจทำให้เกิดผลเสียต่อระบบประสาทส่วนกลาง และอวัยวะอื่นๆ ในร่างกายได้
โทษของสุรามีตั้งแต่ระดับเบาไปจนถึงรุนแรง เช่น เสียการทรงตัว พูดไม่ชัด และหมดสติ
เริ่มจากแชทกับเภสัชกรที่มีใบอนุญาตผ่านแอปของเรา ฟรี! บริการทุกวันตั้งแต่ 9 โมงเช้า ถึง 3 ทุ่ม
ดังนั้นสุราจึงถูกควบคุมทั้งการจำหน่าย และการผลิตอย่างเคร่งครัด
แอลกอฮอล์มีหลายประเภท โดยประเภทที่ใช้ในชีวิตประจำวันมี 3 ประเภท ได้แก่
สาเหตุที่เมเทนอลและไอโซโพรพานอลไม่สามารถดื่มได้ เพราะร่างกายเผาผลาญสารเหล่านี้เป็นพิษ ทำให้เกิดภาวะตับวาย หากดื่มเข้าไปเพียงเล็กน้อยก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้
ปริมาณแอลกอฮอล์ 1 ดีกรี เท่ากับ ร้อยละ 1 หรือ 1 เปอร์เซนต์
การดื่มสุราปริมาณมากเกินไป ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน จะส่งผลกระทบต่อระบบต่างๆ ในร่างกาย ดังนี้
1. สมอง และระบบประสาท
ตรวจตับ วันนี้ เปรียบเทียบราคา / ประหยัดกว่า / ผ่อน 0% ได้ / แอดมินพร้อมให้บริการ กดที่นี่
2. ระบบทางเดินอาหาร และตับ
3. ระบบหัวใจและหลอดเลือด
4. ระบบเม็ดเลือด
5. อัตราการเกิดมะเร็งในอวัยวะต่างๆ
6. ระบบขับถ่าย และอวัยวะสืบพันธุ์
การดื่มสุราในปริมาณพอเหมาะ นานๆ ครั้ง ตับย่อมสามารถกรองแอลกอฮอล์ออกจนหมด และฟื้นฟูเซลล์ที่เสียหายกลับมาเป็นปกติได้ แต่หากดื่มในปริมาณมาก ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน ตับจะไม่สามารถกรองแอลกอฮอล์ได้หมด
เกิดการสะสมไขมัน ทำให้เป็นโรคไขมันพอกตับ โรคตับแข็ง และอาจพัฒนากลายเป็นมะเร็งตับได้ในที่สุด
ผู้ที่ติดสุราเรื้อรังจึงควรตรวจการทำงานของตับ และคัดกรองมะเร็งตับทุกปี เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้